วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทินครั้งที่ 18

บันทึกอนุทินครั้งที่ 18

วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย

วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 

เวลา 14.30 - 17.30 น.


สอบปลายภาคค่ะ





บันทึกอนุทินครั้งที่ 17

บันทึกอนุทินครั้งที่ 17

วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย

วันที่ 27 เมษายน 2559 

เวลา 14.30 - 17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

         วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาแต่ละคนพูดถึงปัญหาที่เราเจอในการออกไปสังเกตการสอน

โดยคำถามของดิฉันก็คือ กลัวว่าสอนเด็กแล้วเด็กจะทำไม่ได้ เช่น เวลาสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

เราให้สัณญาณหยุดแต่เด็กไม่ฟังยังวิ่งทั่วห้อง  วิธีการแก้ปัญหานี้คือ เราต้องทำกิจกรรมที่เด็กสนใจหรือไม่ก็

ใช้วิธีสงบเด็กก่อนทำกิจกรรมเพื่อให้เด็กมีสมาธิในการเรียนมากขึ้นและตั้งใจฟัง




กิจกรรมที่ทำในวันนี้

กลุ่ม หน่วยเห็ด  (การทำเห็ดชุบแป้งทอด)  โดย นางสาวสุนิสา  บุดดารวม









ประเมิน


เพื่อน : เพื่อน ๆ เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อย   และให้ความร่วมมือกับเพื่อนในห้อง

ในการทำกิจกรรม   และตั้งใจฟังปัญหาของเพื่อนแต่ละคนที่พบเจอในการไปสังเกตการสอน

เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการฝึกสอน

ตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

อาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา อาจารย์ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนการสอนและการสอน

 แผนเสริมประสบการณ์  ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น และอาจารย์ได้บอกเทคนิคในการแก้ปัญหาระหว่าง

การสอนเด็ก








บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย

วันที่ 18 เมษายน 2559 ( ชดเชยวันที่ 20 เมษายม 2559 )

เวลา 14.30 - 17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้แต่ละกลุ่มได้ทดลองสอนแผนเสริมประสบการณ์ ( วันศกร์ )

กลุ่ม หน่วยยานพาหนะ ( ข้อควรระวัง )  โดย นางสาวประภัสสร หนูศิริ



คำแนะนำ  - ใช้นิทานไม่สอดคล้องกับเนื้อหา

                 -  ข้อควรระวัง ควรบอกให้ชัดเจนมากขึ้น

                 -  ควรสอนให้เด็กรู้จักสัณญาณไฟจราจร ว่าคืออะไร

กลุ่ม  หน่วยส้ม  ( น้ำส้มคั้น )  โดย นางสาวบุษราคัม  สะรุโน



คำแนะนำ  -  ใช้คำถามให้เด็กได้คิดตาม

                  -   ควรบอกอัตราส่วนในการทำ เพื่อที่จะได้บูรณาเข้ากับคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก

                  -   เมื่อสอนเสร็จแล้วผู้สอนควรสรุปให้เด็กฟังเพื่อเป็นการทบทวนความรู้

กลุ่ม หน่วยกล้วย  ( กล้วยเชื่อม ) โดย นางสาวสุธิดารัตน์  เกิดบุญมี



คำแนะนำ  -  ควรพูดถึงข้อควรระวังของกล้วยให้เด็กฟังด้วย

                 -   ควรบอกอัตาส่วนผสมที่ชัดเจน

กลุ่ม หน่วยผีเสื้อ ( ขนมปังปิ้งรูปผีเสื้อ )  โดย นางสาวดวงกมล คันตะลี



คำแนะนำ  -  ในการเขียนแผ่นชาร์ดไม่ควรเขียนติดกันเกินไป

                 -   ขั้นตอนในการทำควรเขียนเป็นข้อๆ ไม่ควรเขียนเป็นช่อง


ประเมิน


เพื่อน : เพื่อน ๆ เข้าเรียนตรงเวลา   และให้ความร่วมมือกับเพื่อนในห้องในการทำกิจกรรม  

มีการจดบันทึกเมื่ออาจารย์แนะนำการเขียนแผนการสอน

ตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

อาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา อาจารย์ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนการสอนและการสอน

 แผนเสริมประสบการณ์  ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น




บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย

วันที่ 13 เมษายน 2559 

เวลา 14.30 - 17.30 น.



วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากหยุดเทศกาลสงกรานต์



บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย

วันที่ 4 เมษายน 2559 

เวลา 14.30 - 17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้แต่ละกลุ่มได้ทดลองสอนแผนเสริมประสบการณ์ วันศุกร์ 

กลุ่มที่ 1 หน่วยเห็ด ( ประโยชน์และข้อควรระวังของเห็ด )  โดย นางสาวพรวิมล ปาผล

คำแนะนำ -  การเล่านิทานควรมีน้ำเสียง ลูกเล่นมากกว่านี้ เพื่อดึงดูดความสนใจเด็กในการฟังนิทาน

                -  ไม่ควรเสียบตัวละครยาวมากเกินไป

                -   ตัวหนังสือคำว่า เห็ด  ควรเน้นเป็นสีเดียวกัน เพื่อง่ายต่อการจำของเด็ก

กลุ่มที่ 2 หน่วยผีเสื้อ  ( ประโยชน์และข้อควรระวังของผีเสื้อ )  โดย นางสาวณัฐชยา  ชาญณรงค์

คำแนะนำ  -  ผู้สอนควรพูดเพิ่มเติมนอกเหนือจากในนิทาน

                  -  ตัวหนังสือแผ่นชาร์ดไม่เท่ากัน

                  -   ผู้สอนควรพูดข้อควรระวังและประโยชน์ให้ชัดเจน

กลุ่มที่ 3 หน่วยยานพาหนะ  ( ประโยชน์ของยานพาหนะ )  โดย นางสาวธนภรณ์  ใจกล้า

คำแนะนำ  -  ผู้สอนควรใช้คำถามว่า  ยานพาหนะมีประโยชน์อะไรอีก

                 -   ควรเขียน มายแม็บ เป็นแนวนอน

กลุ่มที่ 4 หน่วยส้ม  ( ชนิดของส้ม )  โดย นางสาวนฤมล เส้งเซ่ง

คำแนะนำ  -  การเขียนแผนการสอน

ประเมิน


เพื่อน : เพื่อน ๆ เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อย   และให้ความร่วมมือกับเพื่อนในห้อง

ในการทำกิจกรรม   มีการจดบันทึกเมื่ออาจารย์แนะนำการเขียนแผนการสอน

ตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

อาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา อาจารย์ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนการสอนและการสอน

 แผนเสริมประสบการณ์  ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น






บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย

วันที่ 28 มีนาคม  2559 

เวลา 14.30 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้แต่ละกลุ่มได้ทดลองสอนแผนเสริมประสบการณ์ วันพุธ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะวันศุกร์

กิจกรรมเสริมประสบการณ์



กลุ่มที่ 1 หน่วยเห็ด ( การเพาะเห็ดนางฟ้า ) โดย นางสาวภัสสร ศรีพวารกุล

คำแนะนำ - การเขียนสาระที่ควรเรียนรู้การเพาะเห็ดสรุปโดยย่อ

                -  อุปกรณ์ที่ประกอบการเพาะเห็ดดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อความปลอดภัยของเด็ก

               -  การเขียนแผ่นชาร์ดควรมีรูปประกอบ

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ



หน่วยเห็ด ( การเคลื่อนไหวประกอบเพลง) โดย นางสาวสุนิสา บุดดารวม

คำแนะนำ  -  การเคลื่อนไหวไม่ควรให้เด็กเคลื่อนไหวหลายอย่าง

กิจกรรมเสริมประสบการณ์



กลุ่มที่ 2 หน่วยผัก ( การเลือกซื้อผัก )  โดย นางสาวทิพย์มณี สมศรี

คำแนะนำ  -  การบรรยายวิธีการเลือกซื้อผักควรแบ่งเป็นประเภทที่ให้เด็กเข้าใจมากขึ้น



หน่วยผัก ( ประโยชน์ ) โดยนางสาวอินธุอร ศรีบุญชัย

คำแนะนำ  - ในการเล่านิทานควรบอกถึงประโยชน์ของผักให้ชัดเจนมากกว่านี้

กิจกรรมเสริมประสบการณ์



กลุ่มที่ 3 หน่วยยานพาหนะ ( ประเภทของยานพาหนะ ) โดย นางสาว อรุณี พนารินทร์

คำแนะนำ -  การใช้ปริศนาทำทายควรเน้นให้ตรงกับเนื้อหาที่จะสอนเพื่อเด็กจะได้เข้าใจง่ายขึ้น

                -   สอนไม่ตรงกับสาระการเรียนรู้ที่เขียนในแผน

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ



หน่วยยานพาหนะ ( ความจำ )  โดย นางสาวประภัสสร หนูศิริ

คำแนะนำ  -   การใช้คำพูดควรง่ายกว่านี้เพื่อให้เด็กเข้าใจมากขึ้น

กิจกรรมเสริมประสบการณ์



กลุ่มที่ 4 หน่วยผีเสื้อ ( วงจรชีวิต )  โดย นายวรมิตร สุภาพ

คำแนะนำ  -  ไม่มีคำแนะนำ

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ



หน่วยผีเสื้อ (ความจำ)  โดย นางสาวดวงกมล คันตะลี

คำแนะนำ - ผู้สอนจะต้องบอกว่าหนอนกัดกินใบไม้ไม่ใช้เป็นการทำลายธรรมชาติ

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ



กลุ่มที่  5  หน่วยส้ม ( คำสั่ง ) โดย นางสาวบุษราคัม สะรุโน

คำแนะนำ - ควรสอนให้ตรงกับแผนการสอนที่เขียน



หน่วยส้ม ( ผู้นำ ผู้ตาม ) โดย นางสาวมธุรินทร์ อ่อนพิมพ์

คำแนะนำ - ผู้สอนต้องทบทวนเพลงอีกหนึ่งรอบ จากนั้นค่อยให้เป็นผู้นำผู้ตาม

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ



กลุ่มที่ 6 หน่วยกล้วย ( เคลื่อนไหวตามจินตนาการ ) โดย นางสาวสุธิดารัตน์ เกิดบุญมี

คำแนะนำ - เรื่องที่บรรยายควรสอดคล้องกับเนื้อหาที่สอน

ประเมิน


เพื่อน : เพื่อน ๆ เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อย   และให้ความร่วมมือกับเพื่อนในห้อง

ในการทำกิจกรรม   มีการจดบันทึกเมื่ออาจารย์แนะนำการเขียนแผนการสอน

ตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและจดบันทึกเมื่ออาจารย์ได้ให้คำแนะนำ

ในเรื่องการสอน และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

อาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา อาจารย์ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนการสอนและการสอนแผน

เคลื่อนไหวและจังหวะในวันศุกร์ แผนเสริมประสบการณ์ วันพุธ ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น




บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย

วันที่ 22 มีนาคม  2559 

เวลา 14.30 - 17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้แต่ละกลุ่มได้ทดลองสอนแผนกิจกรรมเคลื่อนและจังหวะ ดังนี้

กลุ่มที่ 1 หน่วยส้ม  ( วันพุธ )โดย นางสาวมธุรินทร์ อ่อนพิมพ์



คำแนะนำ -  การเคาะให้ตรงกับจังหวะ

                -  ครูควรพูดให้เด็กเคลื่อนไหวท่าทางต่าง ๆ ไม่ควรพูดให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะที่ครูเคาะ

               -   ไม่ควรใช้คำถามถามเด็กว่าส้มมีประโยชน์อย่างไร เพราะไม่ใช้การบรรยาย ควรให้เด็กได้แสดงท่าทาง

                   ออกมา

หน่วยส้ม  ( วันพฤหัสบดี )  โดย นางสาวสกาวเดือน สอิ้งทอง




คำแนะนำ  -  การสอนให้ตรงกับแผนการสอนที่เขียน

                 -   เวลาเคาะจังหวะให้เคาะในระดับพอดีไม่ดัง เบา เกินไป

                 -   การสั่งให้เด็กเคลื่อนไหวตามคำสั่งควรสั่งทีละท่าทาง

กลุ่มที่ 2 หน่วยเห็ด ( วันพุธ ) โดยนางสาวภัสสร ศรีพวาทกุล




คำแนะนำ  -  กิจกรรมพื้นฐานควรมีท่าทางที่แปลกใหม่ต่างไปจากการเดิน เพราะจะทำให้เด็กไม่เบื่อเวลาทำกิจกรรม

                  -  การเขียนวัตถุประสงค์ไม่ควรเขียนว่า เพื่อให้ ควรเขียนเป็นพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกมา

หน่วยเห็ด  ( วันพฤหัสบดี ) โดย นางสาวพรวิมล  ปาผล




คำแนะนำ  -  การเขียนแผนตรงสาระที่ควรเรียนรู้ให้ระบุถึงประโยชน์ของเห็ด

กลุ่มที่ 3  หน่วยกล้วย ( วันพุธ )  โดย นางสาวกันยารัตน์  หนองหงอก




คำแนะนำ  -  กิจกรรมเคลื่อนไหว ( บรรยาย ) ไม่ควรทำติดต่อกัน 2 วัน 

                 -   เวลาใช้คำสั่งกับเด็ก ควรพูดให้เด็กฟังก่อน

                -    เนื้อหาที่สอน ประโยชน์ของกล้วย ผู้สอนต้องมีความรู้ในเรื่องประโยชน์ของกล้วย

หน่วยกล้วย  ( วันพฤหัสบดี )  โดย นางสาวณัฐชยา ตุคุณนะ




คำแนะนำ  -  การเขียนแผนตรงสาระที่ควรเรียนรู้ต้องบอกถึงการเลือกซื้อกล้วยว่ามีวิธีการอย่างไร

กลุ่มที่ 4  หน่วยผีเสื้อ  ( วันพุธ )  โดย นายวรมิตร  สุภาพ




คำแนะนำ  -  การเคาะจังหวะในกิจกรรมพื้นฐาน

หน่วยผีเสื้อ  ( วันพฤหัสบดี )  โดยนางสาวณัฐชยา ชาญณรงค์




คำแนะนำ  -  การเขียนสาระที่ควรเรียนรู้ในเรื่องที่สอน

กลุ่มที่ 5  หน่วยผัก  ( วันพุธ ) โดย นางสาวทิพย์มณี สมศรี




คำแนะนำ  -  การบรรยายการเลือกซื้อผัก ควรชัดเจน

หน่วยผัก  ( วันพฤหัสบดี )  โดย นางสาวอินธุอร  ศรีบุญชัย


คำแนะนำ  -  ในการบรรยายให้เด็กไปหยิบผักควรให้เด็กนับเลขไปด้วย เพื่อเด็กจะได้เรียนรู้เรื่องตัวเลข

กลุ่มที่ 6  หน่วยยานพาหนะ  ( วันพุธ ) โดย นางสาวอรุณี พระนารินทร์


คำแนะนำ -  การเขียนสาระที่ควรเรียนรู้ คือ พลังงานที่ใช้ในยานพาหนะ

                -   การเปลี่ยนท่าทางการเคลื่อนไหวที่แปลกใหม่ต่างไปจากการเดิน

หน่วยยานพาหนะ ( วันพฤหัสบดี ) โดย นางสาวธนาภรณ์ ใจกล้า


คำแนะนำ  -  ความมั่นใจในตนเองต่อการสอน

                 -   คำพูด ภาษา ที่ใช้ในการสอนไม่ควรยากเกินไป

                 -   ต้องมีความรู้ในเรื่องที่สอน

ประเมิน

เพื่อน : เพื่อน ๆ เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำงานกลุ่ม และให้ความร่วมมือกับเพื่อนในห้อง

ในการทำกิจกรรม   มีการจดบันทึกเมื่ออาจารย์แนะนำการเขียนแผนการสอน

ตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและจดบันทึกเมื่ออาจารย์ได้ให้คำแนะนำ

ในเรื่องการสอน และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

อาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา อาจารย์ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนการสอนและการสอนแผน

เคลื่อนไหวและจังหวะในวันพุธ พฤหัสบดีทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น