บันทึกอนุทินครั้งที่ 11
วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
วันที่ 21 มีนาคม 2559
เวลา 14.30 - 17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้แต่ละกลุ่มได้ทดลองสอนแผนเสริมประสบการณ์ ( วันจันทร์ ) และสอนแผนเคลื่อนไหวและจังหวะ
( วันอังคาร )
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( วันจันทร์ )
หน่วยส้ม ( ลักษณะของส้ม ) โดย นางสาวมธุรินทร์ อ่อนพิมพ์
คำแนะนำ - การเขียนแผนควรเขียนด้วยปากกา
- แผนการสอนควรมีใบปะหน้าให้เรียบร้อย
- เนื้อหาที่สอนควรชัดเจน
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ( วันอังคาร )
หน่วยส้ม ( ตามคำสั่ง ) โดย นางสาวบุษราคัม สะรุโน
คำแนะนำ - ควรกำหนดคำสั่งที่ชัดเจน
- การเคาะจังหวะ
- ควรสอนตามแผนที่เขียนมา
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( วันจันทร์ )
หน่วยผีเสื้อ ( ชนิดของผีเสื้อ ) โดย นางสาวกัตติกา สบานงา
คำแนะนำ - ผีเสื้อที่นำมาให้เด็กดูไม่ควรมีเยอะเกินไป เพราะจะทำให้เด็กจำชื่อไม่ได้
- การเขียนแผ่นชาร์ดคำว่าผีเสื้อคำใช้ที่แตกต่าง เพื่อ ทำให้เด็กจำง่ายขึ้น
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ( วันอังคาร )
หน่วยผีเสื้อ ( ประกอบเพลง ) โดย นางสาวสิโรธร ลอองเอก
คำแนะนำ - กิจกรรมเคลื่อนไหวไม่ต้องใช้แผ่นชาร์ดเพลง
- เพลงที่นำมาควรเป็นเพลงที่ง่าย และเด็กสามารถจำได้
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( วันจันทร์ )
หน่วยผัก (ประเภขของผัก ) โดย นางสาวนิศากร บัวกลาง
คำแนะนำ - การเขียนแผนควรเขียนประเภทของผักที่กินดอก หัว ผล ใบ ที่ชัดเจน
- การเขียนแผ่นชาร์ดควรวาดรูปประกอบที่ชัดเจน
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ( วันอังคาร )
หน่วยผัก ( ผู้นำผู้ตาม ) โดย นางสาวกันยารัตน์ ทุยเที่ยงสัตย์
คำแนะนำ - การสอนแผนเคลื่อนไหวไม่ต้องมีแผ่นชาร์ดเพลง
- ควรให้เด็กเคลื่อนไหวท่าทางที่หลากหลาย
- ครูไม่ต้องทำท่าทางให้เด็กดู
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( วันจันทร์ )
หน่วยยานพาหนะ ( ประเภทยานพาหนะ ) โดย นางสาวอารียา เอี่ยมโพธิ์
คำแนะนำ - ควรมีเกณฑ์การสอนในการเปรียบเทียบที่ชัดเจน
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ( วันอังคาร )
หน่วย ยานพาหนะ ( คำยรรยาย ) โดย นางสาวกมลมาศ จันทรไพศรี
คำแนะนำ - การเคาะจังหวะ
- การเคลื่อนไหวที่หลากหลาย
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( วันจันทร์ )
หน่วยกล้วย ( ชนิดของกล้วย ) โดยนางสาวเนตรนภา ไชยแดง
คำแนะนำ - การเขียนแผ่นชาร์ดเพลง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ( วันอังคาร )
หน่วยกล้วย ( คำบรรยาย ) โดย นางสาวอริสา ยุนุห์
คำแนะนำ - การเคาะจังหวะ ควรเคาะให้ตรงจังหวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( วันจันทร์ )
หน่วยเห็ด ( ชนิดของเห็ด ) โดย นางสาววรรณวิภา โพธิ์งาม
คำแนะนำ - ควรวางเห็ดให้เป็นระเบียบ เพื่อง่ายในการนับ
- การติดเห็ดควรเริ่มจากทางซ้ายมือของเด็ก
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ( วันอังคาร )
หน่วยเห็ด ( คำบรรยาย) โดย นางสาวพิชากร แก้วน้อย
คำแนะนำ - ในการเคลื่อนไหวควรมีหลายรูปแบบและการเปลี่ยนทิศทาง
ประเมิน
เพื่อน : เพื่อน ๆ
เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำงานกลุ่ม
มีการจดบันทึกเมื่ออาจารย์แนะนำ
การเขียนแผนการสอน
ตนเอง :
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย
ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและจดบันทึกเมื่ออาจารย์ได้ให้คำแนะนำ
ในเรื่องการสอน
อาจารย์ :
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา
อาจารย์ได้ให้ความรู้คำแนะนำเกี่ยวกับการเขียนแผนการสอนและ
การสอนแผนเคลื่อนไหวและจังหวะ แผนเสริมประสบการณ์ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น